fibonacci-baccarat
Posted in: วิธีเล่นบาคาร่า

เทคนิคบาคาร่าต่างประเทศ การเดินเงินแบบ “ฟีโบนัชชี”

ตามที่เราทราบกันดีว่าในแวดวงคาสิโนออนไลน์ได้มีเซียนพนันออกมาเผยแพร่สูตร เทคนิค กลยุทธ์ และโปรแกรมโกงต่างๆ มากมาย รวมไปถึงวิธีการเดิมพัน การเดินเงิน การหาจังหวะเล่นเกม ซึ่งในวันนี้ baccarat.news ก็จะมาแจกเทคนิคบาคาร่าอีกหนึ่งเทคนิค ซึ่งถือว่าเป็น เทคนิคบาคาร่าต่างประเทศ ที่เป็นที่แพร่หลายในหลาย ๆ ประเทศและนักเดิมพันไทยส่วนใหญ่อาจจะยังไม่รู้จักกันดีนัก แต่แน่นอนว่าสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเล่นของทุกคนได้อย่างแน่นอน

เทคนิคบาคาร่าต่างประเทศ การเดินเงินแบบ “ฟีโบนัชชี” คืออะไร

การเดินเงินแบบ “ฟีโบนัชชี” ในปัจจุบันได้เป็นที่แพร่หลายในหลาย ๆ ประเทศ อีกทั้งยังมีการพัฒนาเทคนิคมาตลอดกว่า 300 ปี ตั้งแต่ยุคที่เริ่มมีการเล่นคาสิโน เป็นเทคนิคที่ใช้หลักการคิดวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์สถิติ นิยมใช้กันในเกมบาคาร่า เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขอนุกรม เช่น 0, 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, 144, 233, …, วิธีคือเริ่มบวกจาก 0+1 = 1, 1+1 = 2, 1+2 = 3, 2+3 = 5, 3+5 = 8, 5+8 = 13, 8+13 = 21 เป็นต้น

fibonacci-baccarat

การเดินเงินแบบ “ฟีโบนัชชี” เป็นอย่างไร

เมื่อเรารู้ข้อมูลเบื้องต้นแล้วว่าระบบตัวเลขแบบ “ฟีโบนัชชี” เป็นอย่างไรแล้ว ต่อไปนี้จะเป็นการนำเอาตัวเลข 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55 ทั้งหมด 10 ตัวเลข มาใช้กับการเดิมพันในเกมบาคาร่าออนไลน์ ถ้าคุณเป็นนักเดิมพันที่ทุนหนาก็สามารถเดินเงินได้มากกว่า 10 ตัวเลขตามแต่ที่คุณเห็นว่าพอเหมาะพอควร ซึ่งเทคนิคนี้จะเป็นการเพิ่มเงินเดิมพันทุกครั้งที่แพ้เท่านั้น และจะลดเงินเดิมพันลงก็ต้องเมื่อเราชนะ ซึ่งจะเพิ่มเงินเดิมพันในลำดับการเล่นตาต่อไปตามเลขอนุกรม ซึ่งโอกาสที่เราอาจจะแพ้ติดต่อกัน 10 ครั้งมีความเป็นไปได้ แต่ถ้าหากเราชนะเราจะต้องลดเงินเดิมพันในตาต่อไป

  • เดินเงินแบบ แพ้เดินหน้า 1 หน่วย ชนะถอยหลัง 2 หน่วย

เทคนิคนี้จะช่วยให้เรามีโอกาสอยู่ในเกมมากขึ้น โดยจะทำกำไรให้เราอย่างค่อยเป็นค่อยไป ดังนั้นเทคนิคนี้จึงเหมาะกับคนใจเย็นไม่รีบร้อน ไม่สามารถทำเงินได้ไวเท่าเทคนิคแบบมาติงเจล โดยจะเน้นการเพิ่มเงินเดิมพันทุกครั้งที่แพ้ขึ้นทีละ 1 หน่วย เช่น

– วิธีแรก เดิมพันครั้งที่ 1 แพ้

– วิธีที่ 2 เดิมพัน 1 หน่วย แพ้

– วิธีที่ 3 เดิมพัน 2 หน่วย แพ้

– วิธีที่ 4 เดิมพัน 3 หน่วย ถ้าหากแพ้อีกก็ให้ทบเงินเดิมพันขึ้นไปอีกเป็นวิธีต่อ ๆ ไปตามลำดับ แต่ถ้าเราเอาชนะเมื่อไหร่ก็ให้ลดเงินเดิมพันลงครั้งละ 2 หน่วย เช่น

– ถ้าเราแพ้ติดต่อกันแล้ว 8 ครั้ง ในครั้งที่ 9 ให้เราเดิมพันที่ 52 หน่วย

– ถ้าเราชนะจากการเดิมพันครั้งที่ 10 ตาต่อไปให้เราลดเงินเดิมพันลง 3 หน่วย คือ เดิมพันที่ 17 หน่วย

– ถ้าเราชนะอีกครั้งในการเดิมพันที่ 18 หน่วย ตาถัดไปให้เราลดเงินเดิมพันลง 3 หน่วยอีกเช่นเดิม แนะนำว่าให้เราเดิมพันแบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนไปจบที่ 1 หน่วยนั่นเอง

  • เดินเงินแบบ แพ้เดินหน้า 1 หน่วย ชนะถอยหลัง 1 หน่วย

การเดินเงินแบบนี้จะคล้าย ๆ กับการเดินเงินแบบเทคนิคข้างบนที่ได้กล่าวมา แต่จะแตกต่างกันตรงที่ ทุกครั้งที่เราแพ้ เราจะต้องเดินหน้า 1 หน่วย แต่ถ้าชนะให้ถอยหลัง 1 หน่วย พร้อมเพิ่มเป้าหมายว่าใน 1 วัน เราจะต้องทำกำไรให้ได้มากที่สุดกี่หน่วยแล้วจึงหยุดเล่น สำหรับมือใหม่ที่ยังไม่มีประสบการณ์มากเราขอแนะนำขั้นสูงสุดอยู่ที่กำไร 5 หน่วยต่อวัน เมื่อทำได้แล้วให้เลิกเล่นทันที แต่ถ้าคุณเริ่มเป็นเซียนและมีประสบการณ์เยอะพอสมควรแล้วก็ให้ขยับเป้าหมายกำไรเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ แต่ไม่ควรก้าวกระโดดจนเกินไป

– ถ้าเราแพ้ติดต่อกัน 5 ครั้ง หมายความว่าเราเดิมพันไปแล้ว 1+1+2+3+5 = 12 หน่วย

– เมื่อเราเริ่มเดิมพันครั้งที่ 6 จำนวน 10 หน่วย และถ้าหากชนะก็จะได้กำไรคืนกลับมา 8 หน่วย

– เมื่อเราเดิมพันชนะ ในตาถัดไปจะต้องลดเงินเดิมพันลง 1 หน่วย คือ 5 หน่วย และถ้าหากตานี้สามารถชนะได้อีกก็จะหมายความว่าเราชนะ 2 ตาติดต่อกัน ก็จะได้กำไรเพิ่มขึ้นมาเป็น 5 หน่วย รวมชนะ 2 ครั้งติดต่อกันคิดเป็น 8+5 = 13 หน่วย และหักเงินที่เราขาดทุนไปก่อนหน้านี้ 12 หน่วย ก็เท่ากับว่าเราได้กำไรมาแล้วทั้งหมด 1 หน่วย นั่นเอง

การเดิมพันทั้ง 2 รูปแบบจะเป็นการเพิ่มเงินเดิมพันทุกครั้งที่แพ้เท่านั้น และจะลดเงินเดิมพันลงก็ต้องเมื่อเราชนะ ซึ่งจะเพิ่มเงินเดิมพันในลำดับการเล่นตาต่อไปตามเลขอนุกรม ซึ่งรูปแบบที่ 1 เมื่อชนะและลดเงินเดิมพันลง 2 หน่วย จะได้ทุนคืนช้าจึงทำกำไรได้ช้ากว่า แต่ในทางตรงข้ามถ้าหากเราได้กำไรจะทำให้เหลือเงินในคลังของเรามากกว่า ถ้าเราเป็นคนที่มีทุนหนาและประสบการณ์ที่มากพอสมควร และโอกาสที่เราจะชนะมีมากกว่า 4 ตาขึ้นไป การเดินเงินแบบนี้ก็ถือว่าเข้าทางเราเป็นอย่างมาก เพียงแค่ต้องวางเป้าหมายกำไรขาดทุนในแต่ละวัน และเมื่อครบตามเป้าหมายก็ให้หยุดเล่นทันทีไม่ว่าคุณจะได้กำไรหรือขาดทุน แล้วมาเริ่มต้นใหม่ในวันต่อไปก็ยังไม่สายเกินไป

Back to Top